ฮัวโต๋ (อังกฤษ Hua Tuo จีนตัวย่อ 华陀 จีนตัวเต็ม 華佗 พินอิน Huà Tuó เวด-ไจลส์ Hua T’o) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวตำบลเจากุ๋น เมืองไพก๊ก มณฑลเจียงซู มีชื่อรองว่าเหยียนหัวะ มีอาชีพเป็นหมอ ฮัวโต๋เป็นผู้ที่มีฝีมือในด้านการรักษาโรคอันยอดเยี่ยม วิธีการรักษาคนไข้ด้วยการให้กินยาและผ่าตัด ฮัวโต๋เป็นหมอที่มีจรรยาแพทย์ รักษาคนโดยไม่หวังตอบแทนตั้งแต่ชาวบ้านจนถึงคนใหญ่คนโต เป็นที่เลื่องลือไปทั่วแผ่นดินจีน ในสมัยที่ซุนเซ็กครองแคว้นกังตั๋ง จิวท่าย ทหารเอกของซุนเซ็กช่วยซุนกวนฝ่าวงล้อมของกลุ่มโจรป่า จิวท่ายพาซุนกวนฝ่าวงล้อมไปได้ แต่ตนเองต้องอาวุธโจรนับสิบกว่าแผล งีห้วนแนะนำฮัวโต๋ให้มารักษาจิวท่าย ซุนเซ็กจึงได้เชิญตัวมารักษา ใช้เวลาแค่ 3 เดือน บาดแผลก็หายสนิท กวนอูให้หมอฮัวโต๋ผ่าตัดที่แขนเพื่อขูดพิษเกาฑัณฑ์ออกจากกระดูก ศิลปะญี่ปุ่นยุคเอะโดะ ผลงานของอุตะงะวะ คุนิโยะชิ ครั้งหนึ่งกวนอูได้ยกทัพมาตีเมืองอ้วนเซียที่มีโจหยิน ทหารเอกโจโฉรักษาไว้อยู่ กวนอูถูกลูกเกาทัณฑ์อาบยาพิษของข้าศึกที่ไหล่ขวาจึงต้องถอนทัพกลับค่าย กวนเป๋งเป็นผู้ไปตามตัวฮัวโต๋มาช่วยรักษา โดยการผ่าเนื้อที่ไหล่แล้วเอายาใส่และเย็บเนื้อให้เป็นเหมือนเดิม โดยที่กวนอูไม่แสดงอาการเจ็บปวดให้เห็น กวนอูได้สรรเสริญว่าฮัวโต๋เป็นหมอเทวดา ฝ่ายฮัวโต๋ได้ชื่นชมกวนอูว่า เป็นคนไข้ที่อดทนต่อความเจ็บปวดได้ดี เมื่อโจโฉป่วยเป็นโรคประสาทมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง ได้เชิญฮัวโต๋มารักษา ซึ่งบอกกับโจโฉว่าต้องผ่าศีรษะรักษาจึงจะหาย โจโฉโกรธหาว่าฮัวโต๋สมรู้ร่วมคิดกับกวนอูคิดฆ่าตน จึงให้นำตัวไปขังไว้จนเสียชีวิตในคุก เครดิตฟรี…
Continue Reading
หวงตี้
หวงตี้ หรือ จักรพรรดิเหลือง (จีน 黃帝) เป็นหนึ่งในกษัตริย์ตามตำนานจีนและวีรบุรุษทางวัฒนธรรม เป็นหนึ่งในซานหวงอู่ตี้ ตำนานระบุว่า จักรพรรดิเหลืองครองราชย์ตั้งแต่ 2697 – 2597 หรือ 2696 – 2598 ปีก่อนคริสตกาล ลัทธิของพระองค์โดดเด่นอย่างมากในยุคฮั่นกล่าวกันว่าพระองค์เป็นผู้ให้กำเนิดรัฐรวมศูนย์อำนาจ ผู้ปกครองจักรวาล และองค์อุปถัมภ์ศิลปะลับ พระองค์ได้รับการยกย่องว่าทรงประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมจำนวนมาก และปัจจุบันได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ริเริ่มอารยธรรมจีน และกล่าวกันว่าเป็นผู้บรรพบุรุษของชาวจีนหัวเซี่ยสามราชาห้าจักรพรรดิ (จีน 三皇五帝 พินอิน Sānhuáng Wǔdì อังกฤษ Three Sovereigns and Five Emperors) เป็นกลุ่มบุคคลหรือเทวดาซึ่งตำนานกล่าวว่า ปกครองภาคเหนือของจีนโบราณ สามราชามาก่อนห้าจักรพรรดิ และห้าจักรพรรดินั้นมีผู้กำหนดว่า ปกครองอยู่ในราว 2852–2070 ปีก่อนคริสตกาล ปัจจุบัน อาจถือว่า บุคคลเหล่านี้เป็นวีรบุรุษทางวัฒนธรรม (culture hero) ว่ากันว่า ราชาทั้งสามเป็นเทพหรือกึ่งเทพซึ่งสร้างความเป็นอยู่ที่ดีและอบรบสั่งสอนวิชาความรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้คน เช่น สอนให้ใช้ไฟ สอนปลูกสร้างบ้านเรือน สอนทำเรือกสวนไร่นา ค้นพบหยูกยา…
Continue Reading
พระอัศวิน
พระอัศวิน (อังกฤษ Ashvins, สันสกฤต अश्विन) เป็นเทพเจ้าตามคติความเชื่อของศาสนาฮินดู พระอัศวินเป็นเทพเจ้าฝาแฝดที่มีศีรษะเป็นม้า และมีร่างกายเป็นมนุษย์ องค์หนึ่งมีพระนามว่า นาสัตยอัศวิน (ความกรุณา) อีกองค์หนึ่งมีพระนามว่า ทัศรอัศวิน (ความรู้แจ้ง) เทียบได้กับเทพเจ้าตามเทพปกรณัมกรีก เช่น โฟบอส และ ดีมอส, ฮิปนอส และ ทานาทอส, แคสเตอร์ และ พอลลักซ์ เป็นต้น พระอัศวินเป็นพระโอรสของพระอาทิตย์ กับนางสัญญา นางสัญญาต้องการจะหนีพระอาทิตย์ไปบวชอยู่ในป่า จึงแปลงร่างเป็นม้าเพศเมีย แต่พระอาทิตย์ก็ยังแปลงร่างเป็นม้าเพศผู้ไปอยู่ด้วยจนเกิดเป็นพระอัศวินขึ้นมา พระอัศวิน เป็นเทพที่ประทานนำทรัพย์ต่าง ๆ มาให้มนุษย์ และยังปกป้องมนุษย์จากภัยอันตรายต่าง ๆ จนถึงโรคภัยไข้เจ็บ เพราะพระอัศวินยังมีหน้าที่เป็นแพทย์สวรรค์ด้วย พระอัศวิน ยังเป็นเทพแห่งแสงสว่าง ทั้งคู่จะขับรถม้านำหน้าราชรถของพระอาทิตย์มาก่อนเวลารุ่งสาง พระอัศวินได้ถูกกล่าวถึงเป็นอย่างมากในคัมภีร์ฤคเวท ซึ่งในคัมภีร์นั้นมีการกล่าวถึงพระนามของพระอัศวินถึง 400 ครั้งคำว่า สํสฺกฺฤต (संस्कृत) แปลว่า กลั่นกรองแล้ว ส่วนคำว่า สํสฺกฺฤตา วากฺ (संस्कृता वाक्)…
Continue Reading
พระธันวันตริ
พระธันวันตริ เป็นเทพแห่งการแพทย์ในความเชื่อฮินดู และเป็นหนึ่งในอวตารของพระวิษณุ พระนามของพระองค์ปรากฏในปุราณะว่าเป็นเทพเจ้าแห่งอายุรเวท พระธันวันตริเกิดขึ้นมาจากเกษียรสมุทรระหว่างการกวนเกษียรสมุทรพร้อมกับน้ำอมฤต (น้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ทำให้กลายเป็นอมตะ) โดยทั่วไปชาวฮินดูนิยมกราไหว้และบูชาเพื่อให้คุ้มครองสุขภาพและหายจากอาการเจ็บป่วยและโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะช่วงเทศกาลธันเตรัส (Dhanteras) หรือ ธันวันตริ ตรโยทศิ (Dhanwantari Trayodashi) ซึ่งรัฐบาลอินเดียประกาศให้เฉลิมฉลองเป็น วันอายุรเวทแห่งชาติอวตาร (สันสกฤต अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา เครดิตฟรี มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที่สุดอวตารของพระวิษณุมีมากมายหลายปาง แต่อวตารซึ่งเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคืออวตารชุด ทศาวตาร (เป็นการสมาสคำว่า ทศ (สิบ) เข้ากับคำว่า อวตาร จึงหมายถึง อวตารทั้งสิบ)…
Continue Reading
ซีหวังหมู่
ซีหวังหมู่ (จีน 西王母 พินอิน Xī Wángmǔ เวด-ไจลส์ Hsi1 Wang2-mu3 พระแม่ตะวันตก) เป็นเทวีตามศาสนาชาวบ้านจีนซึ่งปรากฏมาแต่โบราณกาล บันทึกแรกสุดเกี่ยวกับนางปรากฏบนกระดูกเสี่ยงทายอายุราวหนึ่งร้อยห้าสิบปีก่อนคริสต์ศักราชซึ่งมีเนื้อหาเป็นการสังเวย ซีหมู่ (西母 แม่ตะวันตก) แต่แม้บันทึกเหล่านี้มีขึ้นก่อนลัทธิเต๋า นางก็มักได้รับการจัดเข้าอยู่ในลัทธิเต๋า ชื่อของนางเองบ่งบอกว่านางเป็นสตรี เป็นราชนิกุล และสัมพันธ์กับภาคตะวันตก นางเริ่มได้รับความนิยมและเริ่มเชื่อถือกันว่าเป็นผู้ประทานอายุ โภคะ และสุขะตั้งแต่ช่วงสองร้อยปีก่อนคริสต์ศักราชในคราวที่ภาคตะวันตกและภาคเหนือของจีนสามารถติดต่อกันได้ดีขึ้นเพราะมีการเปิดเส้นทางสายไหม ชื่ออย่างเป็นทางการของนางตามฝ่ายเต๋าคือ เหยาฉือจินหมู่ (จีน 瑤池金母 พินอิน Yáochí Jīnmǔ เวด-ไจลส์ Yao2-ch’ih2 Chin1-mu3 แม่ทองสระหยก) ส่วนในปัจจุบัน นางเป็นที่รู้จักในชื่อ หวังหมู่เหนียงเนียง ตามสำเนียงกลาง หรือ อ๋องโบ้เหนียวเหนียว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีน 王母娘娘 พินอิน Wángmǔ Niángniang เวด-ไจลส์ Wang2-mu3 Niang2-niang0) เส้นทางสายไหม (อังกฤษ Silk Road หรือ Silk…
Continue Reading
นนทิ
อุสุภราช หรือ นนทิ (อักษรโรมัน Nandi สันสกฤต नंदी) เป็นชื่อโคเผือกที่เป็นพาหนะของพระศิวะ กำเนิดมาจากเมื่อครั้งกวนเกษียณสมุทร พระกัศยปะต้องการให้นางโคสุรภีเป็นพาหนะประจำพระองค์ แต่ติดว่านางโคสุรภีเป็นโคเพศเมีย หากจะเป็นโคพาหนะจึงควรเป็นโคเพศผู้มากกว่า พระกัศยปะจึงได้เนรมิตรโคเพศผู้ขึ้นมาให้สมสู่กับนางโคสุรภี ลูกโคที่เกิดมาเป็นโคสีขาวปลอดเพศผู้ลักษณะดีคือ โคอุสุภราช พระกัศยปะจึงได้ประทานชื่อให้ว่า นนทิ หรือ นันทิ และได้ถวายให้เป็นพระพาหนะแด่พระศิวะ อีกตำนานหนึ่งของการกำเนิดโคอุสุภราช กล่าวว่า เดิมทีเป็นเทพบุตรองค์หนึ่งชื่อ นนทิ เป็นเทพที่ดูแลบรรดาสัตว์ 4 ขาต่าง ๆ ที่เชิงเขาไกรลาส และมักเนรมิตรตนให้เป็นโคเผือกสีขาวเพื่อเป็นพาหนะของพระศิวะเมื่อเสด็จไปยังที่ต่าง ๆ โคอุสุภราชในความเชื่อของชาวฮินดูไม่เพียงแต่เป็นสัตว์พาหนะตัวหนึ่งเท่านั้น แต่ยังได้รับการบูชาดุจดั่งเทพเจ้าองค์หนึ่ง ดังนั้น โคหรือวัวสำหรับชาวฮินดูจึงถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ ชาวฮินดูจึงไม่ฆ่าโคและกินเนื้อวัว ในพิธีการมงคลแบบฮินดู พราหมณ์จะนำมูลโคมาเจิมหน้าผาก ถือว่าเป็นมงคลประการที่ 7 และในวิหารบูชาพระศิวะมักมีรูปปั้นโคอุสุภราชนี้ประดิษฐานที่กลางวิหารด้วย ด้วยถือว่าเป็นสัญลักษณ์หนึ่งขององค์พระศิวะมีมุมมองหลากหลายเกี่ยวกับการประพฤติที่เรียกว่าเป็นการร่วมเพศหรือกิจกรรมทางเพศ ซึ่งสามารถส่งผลต่อมุมมองเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศ แม้คำว่า การร่วมเพศ มักสื่อถึงการสอดใส่ขององคชาตเข้าไปยังช่องคลอดและโอกาสที่จะสร้างบุตร แต่ก็สามารถหมายถึงการร่วมเพศทางปากและทางทวารหนักได้เช่นกัน ส่วนการร่วมเพศแบบไม่สอดใส่ เช่น การสำเร็จความใคร่ให้กันและกัน (mutual masturbation) และการทำออรัลเซ็กซ์กับผู้หญิง (cunnilingus) ถูกเรียกว่า…
Continue Reading
พระอัยนาร์
เทวรูปหินสลักพระอัยนาร์และพระมเหสีทั้งสอง ในพิพิธภัณฑ์ กรุงเชนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย พระอัยนาร์ ( ทมิฬ ஐயனார்อังกฤษ Aiyanar) เป็นเทวะท้องถิ่น ในศาสนาฮินดู ซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ดูแลรักษาและคุ้มครองหมู่บ้านของชาวทมิฬ ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักและนิยมบูชา ใน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย อินเดียภาคใต้ทั่วไป และหมู่บ้าน ทมิฬ ใน ประเทศศรีลังกา มีลักษณะความสัมพันธ์คล้ายคลึงกับ พระอัยยานากี (อังกฤษ Aiyanayake) เทพเจ้าของชาวสิงหล ในประเทศศรีลังกาเทวรูปหินสลักพระอัยนาร์และพระมเหสีทั้งสอง เทวสถานประจำหมู่บ้าน ในกรุงเชนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดี พระอัยนาร์ พระอัยนาร์เดิมเป็นเทพเจ้าพื้นเมืองในภาคใต้อินเดีย ที่ได้รับการยบูชามานานแล้ว ต่อในรัฐกรณาฏกะ มีการสร้างเทวสถานถวายเทพองค์นี้ในพระนาม พระศัตตรา ในศตวรรษที่ 10 และปรากฏในคัมภีร์ของชาวทมิฬใหม่ในพระนาม พระอัยยัปปาโดยกล่าวว่าเป็นบุตรที่เกิดจากพลังของพระหริหระซึ่งเป็นการอวตารร่วมกันระหว่างพระศิวะและพระนารายณ์.ภาษาอูรดู (อูรดู اردو) (รู้จักกันในชื่อภาษาว่า Lashkari لشکری) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต…
Continue Reading
จูโน
เทพีจูโน (อังกฤษ Juno) เป็นเทพีในตำนานเทพปกรณัมโรมันที่เทียบเท่ากับเทพีเฮราในตำนานเทพปกรณัมกรีก เทพีจูโนเป็นเทพีผู้พิทักษ์ที่ปรึกษาของรัฐ เป็นธิดาของเทพแซทเทิร์น และเป็นน้องสาว (และภรรยา) ของเทพจูปิเตอร์และแม่ของเทพจูเวนตัส (Juventus), เทพมาร์ส และเทพวัลคัน เทพีจูโนเป็นเทพีผู้พิทักษ์กรุงโรมและจักรวรรดิโรมันที่บางครั้งก็เรียกว่าเรจินา (พระราชินี) เทพีจูโน เทพจูปิเตอร์ และ เทพีมิเนอร์วาเป็นสามเทพที่สักการะบนจูโนคาพิโตลินา (Juno Capitolina) ในกรุงโรมจูปิเตอร์ หรือโจฟ ทรงเป็นราชาแห่งพระเจ้าและเทพเจ้าแห่งท้องฟ้าและฟ้าผ่าในเรื่องปรัมปรา จูปิเตอร์ทรงเป็นพระเจ้าหลักของศาสนารัฐโรมันตลอดสมัยสาธารณรัฐและจักรวรรดิ จนศาสนาคริสต์กลายเป็นศาสนาครอบงำในจักรวรรดิ ในเทพปกรณัมโรมัน พระองค์ทรงเจรจากับนูมา ปอมปีลีอัส พระมหากษัตริย์โรมพระองค์ที่สอง เพื่อสถาปนาหลักการของศาสนาโรมันอย่างการบูชายัญ ปกติคาดว่าจูปิเตอร์กำเนิดขึ้นเป็นเทพเจ้าท้องฟ้า สิ่งที่บอก คือ ฟ้าผ่า และสัตว์ศักดิ์สิทธิ์หลักของพระองค์ คือ นกอินทรี ซึ่งถือว่าดีกว่านกอื่นในการยึดลาง (augury) และกลายเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยที่สุดอันหนึ่งของกองทัพโรมัน สองสัญลักษณ์นี้มักรวมกันเพื่อแสดงจูปิเตอร์ในรูปอินทรีกำฟ้าผ่าในกรงเล็บ ซึ่งเห็นได้บ่อยในเหรียญกรีกและโรมัน ในฐานะเทพเจ้าท้องฟ้า พระองค์ทรงเป็นพยานศักดิ์สิทธิ์ของคำสาบาน ความไว้วางใจศักดิ์สิทธิ์ซึ่งความยุติธรรมและธรรมาภิบาลยึดถือ หลายหน้าที่ของพระองค์ได้รับความสนใจบนเนินแคพิทะไลน์ (เนินรัฐสภา) อันเป็นที่ตั้งของป้อม พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าหลักในสามแคพิทะไลน์ (Capitoline Triad) ช่วงต้นร่วมกับมาร์สและควิไรนัส ในสามแคพิทะไลน์ช่วงหลัง พระองค์ทรงเป็นผู้พิทักษ์กลางของรัฐร่วมกับจูโนและมิเนอร์วา ไม้ต้นศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์…
Continue Reading
เพอร์เซฟะนี
ในเทพปกรณัมกรีก เพอร์เซโฟเน่ (อังกฤษ Persephone /pərˈsɛfəniː/ กรีก Περσεφόνη) หรือเรียก คอรี (อังกฤษ Kore /ˈkɔəriː/ หญิงโสด) เป็นพระธิดาของซูส และเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ดีมิเทอร์ และราชินีแห่งโลกหลังความตาย โฮเมอร์อธิบายว่าพระองค์เป็นราชินีแห่งโลกหลังคมตายผู้น่าเกรงขามและน่าเคารพนับถือ ผู้บันดาลให้คำสาปของมนุษย์บังเกิดผลต่อวิญญาณของผู้วายชนม์ เพอร์เซฟะนีถูกเฮดีส ราชาแห่งโลกบาดาล ลักพาตัว ตำนานการลักพาของพระองค์เป็นการแสดงว่าหน้าที่ของพระองค์เป็นบุคคลวัตของพืชพรรณซึ่งงอกในฤดูใบไม้ผลิและถอนคืนสู่พิภพหลังเก็บเกี่ยว ฉะนั้นพระองค์จึงยังสัมพันธ์กับฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณในศาสนาและตำนานกรีกโบราณ ดิมีเทอร์ (อังกฤษ Demeter, /dɨˈmiːtɚ/ Gay) เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ผู้ดูแลธัญพืชและความอุดมสมบูรณ์ของปฐพี ชื่อลัทธิบูชาของพระนางรวมถึงซิโต (Σιτώ) สตรีแห่งธัญพืช ในฐานะผู้ประทานอาหารหรือธัญพืช และเธสมอฟอรอส (θεσμός thesmos ระเบียบสวรรค์, กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร phoros ผู้ให้, ผู้ถือ) ผู้ประทานกฎหมาย โดยเป็นเครื่องหมายการดำรงอยู่ของสังคมเกษตรกรรมอารยะ[ยนทางวิมาน ยอดเขาโอลิมปัส, เธรซ, มาซิโดเนีย, ธีปส์, สปาร์ตา และคาบสมุทรแมนิ แอรีส (อังกฤษ Ares /ˈɛəriz/…
Continue Reading
โอซีอานัส
โอซีอานัส (อังกฤษ Oceanus, /oʊˈsiənəs/ กรีก Ωκεανός, Okeanos) เป็นระบบที่เชื่อมต่อกันของแหล่งน้ำ เขตน่านน้ำ และมหาสมุทรของโลก (world-ocean) ในยุคสมัยคลาสสิกโบราณซึ่งชาวโรมันและชาวกรีกโบราณคิดว่ามันคือแม่น้ำขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบโลกอยู่ ตามตำนานเทพปกรณัมกรีก มีไททันตนหนึ่งใช้เป็นบุคลาธิษฐานแทนแหล่งน้ำนี้ ไททันตนนี้เป็นพระโอรสของไททันยูเรนัส (Uranus) และเทพีไกอา (Gaia) ผลงานศิลปแบบโมเสคของเฮเลนนิสต์และโรมันมักออกแบบไททันตนนี้ให้มีช่วงบนของร่างเป็นชายร่างบึกบึน มีหนวดเครายาวรุงรัง และเขา ส่วนช่วงล่างจะเป็นร่างของงูเซอร์เพนท์ (serpent) ในภาพวาดบนชิ้นส่วนจากเครื่องปั้นในช่วงประมาณ 580 ปีก่อนคริสตกาล ในกลุ่มเทพที่เข้าร่วมงานวิวาห์ของกษัตริย์เพเลอุซ (Peleus) และนิมฟ์ทะเลเธทิส (Thetis) ไททันโอเซียเนิสมีหางเป็นปลา ในมือขวาถือ terd และมือซ้ายถืองูเซอร์เพนท์ ซึ่งสองสิ่งนี้เป็นของขวัญแห่งความมั่งคั่งและคำทำนาย ในผลงานโมเสคโรมัน ก็มีภาพไททันโอซีอานัสถือไม้พายและอุ้มเรือด้วยเช่นกันดาวเคราะห์ (กรีก πλανήτης อังกฤษ planet หรือ ผู้พเนจร) คือวัตถุขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ก่อนคริสต์ทศวรรษ 1990 มีดาวเคราะห์ที่เรารู้จักเพียง 8 ดวง (ทั้งหมดอยู่ในระบบสุริยะ) ปัจจุบันเรารู้จักดาวเคราะห์ใหม่อีกมากกว่า 100 ดวง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์นอกระบบ คือ…
Continue Reading