Skip to content
Menu
yourgroomsmengifts.com
  • หน้าแรก
  • เทพเจ้า
  • เกี่ยวกับเรา
  • บล็อก
  • ติดต่อเรา
yourgroomsmengifts.com

Author: yourmengifts

ซีมีลี

Posted on December 4, 2021 by yourmengifts

ซีมีลี (อังกฤษ Semele) ในตำนานเทพเจ้ากรีก ซีมีลีเป็นธิดาของแคดมุสและฮาร์โมเนีย เป็นมนุษย์ที่มีความสง่างามมากจึงเป็นที่ถูกใจของเทพซูส แต่เทพซูสกลัวว่านางเฮรา มเหสีเอกของตนจะจับได้ จึงกลายร่างเป็นชายหนุ่มรูปงามและได้มีความสัมพันธ์กันและได้นางซีมีลีมาเป็นชายาอีกองค์ ต่อมานางเฮราได้พบเข้า จึงแปลงกายเป็นหญิงชราซึ่งเป็นพี่เลี้ยงของนางซีมีลี และได้สอบถามว่าใครคือพ่อของลูกในท้องของนางซีมีลี นางซีมีลีจึงบอกว่าเป็นเทพซูสแห่งเขาโอลิมปัส นางเฮราจึงคิดกลอุบายให้นางซีมีลีไปสัญญาต่อแม่น้ำสติ๊กซ์ เมื่อเทพซูสได้ทราบเรื่องแล้วจึงไม่อาจจะขัดขืนได้จึงแปลงกายกลับ จึงทำให้รัศมีที่เจิดจ้าทำให้นางซีมีลีถูกแสงรัศมีเผาจนหมด ส่วนเทพซูสนั้นรีบเก็บครรภ์ของนางซีมีลีไว้ที่ต้นขา เนื่องจากกลัวว่านางเฮราจะจับได้ ต่อมาซูสได้ตั้งชื่อบุตรว่าไดโอไนซูส ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นหรือไวน์ไดอะไนซัส (อังกฤษ Dionysus, /daɪ.əˈnaɪsəs/ กรีกโบราณ Διόνυσος, Dionysos) เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยวองุ่น การทำไวน์และไวน์ ความบ้าคลั่งทางพิธีกรรมและปีติศานติ์ในเทพปกรณัมกรีก พระนามของพระองค์ในแผ่นจารึกอักษรไลเนียร์บี แสดงว่าชาวกรีกไมซีเนียนอาจมีการบูชาพระองค์ตั้งแต่ประมาณ 1,500–1,100 ปีก่อน ค.ศ. ร่องรอยลัทธิประเภทไดอะไนเซียพบได้ในอารยธรรมไมนวนบนเกาะครีต จุดกำเนิดของพระองค์นั้นไม่แน่ชัด และลัทธิของพระองค์มีหลายรูปแบบ แหล่งข้อมูลโบราณบางแหล่งอธิบายว่าเป็นของชาวเทรซ บางแหล่งก็อธิบายว่าเป็นของชาวกรีก ในบางลัทธิ พระองค์มาจากทางตะวันออก โดยเป็นพระเจ้าเอเชีย ในลัทธิอื่น พระองค์มาจากเอธิโอเปียทางใต้ พระองค์เป็นเทพเจ้าแห่งการสำแดงอย่างเทพเจ้า (epiphany) และ ความเป็นต่างประเทศ ของพระองค์ที่เป็นพระเจ้าที่มาจากต่างแดนอาจสืบทอดและสำคัญต่อลัทธิของพระองค์ พระองค์เป็นพระเจ้าหลักและได้รับความนิยมในเทพปกรณัมและศาสนากรีก และรวมอยู่ในรายพระนามเทวสภาโอลิมปัสบ้าง ไดอะไนซัสเป็นพระเจ้าพระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับเข้าสู่ยอดเขาโอลิมปัส พระองค์เป็นพระเจ้าองค์ที่มีพระชนมายุน้อยที่สุดและเป็นพระองค์เดียวที่ประสูติแก่มารดาที่เป็นมนุษย์ เทศกาลของพระองค์เป็นแรงผลักดันเบื้องหลังการพัฒนาการละครกรีก พระองค์เป็นตัวอย่างของพระเจ้าที่กำลังสวรรคต…

Continue Reading

เพอร์เซฟะนี

Posted on December 4, 2021 by yourmengifts

ในเทพปกรณัมกรีก เพอร์เซโฟเน่ (อังกฤษ Persephone /pərˈsɛfəniː/ กรีก Περσεφόνη) หรือเรียก คอรี (อังกฤษ Kore /ˈkɔəriː/ หญิงโสด) เป็นพระธิดาของซูส และเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ดีมิเทอร์ และราชินีแห่งโลกหลังความตาย โฮเมอร์อธิบายว่าพระองค์เป็นราชินีแห่งโลกหลังความตายผู้น่าเกรงขามและน่าเคารพนับถือ ผู้บันดาลให้คำสาปของมนุษย์บังเกิดผลต่อวิญญาณของผู้วายชนม์ เพอร์เซฟะนีถูกเฮดีส ราชาแห่งโลกบาดาล ลักพาตัว ตำนานการลักพาของพระองค์เป็นการแสดงว่าหน้าที่ของพระองค์เป็นบุคคลวัตของพืชพรรณซึ่งงอกในฤดูใบไม้ผลิและถอนคืนสู่พิภพหลังเก็บเกี่ยว ฉะนั้นพระองค์จึงยังสัมพันธ์กับฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณในศาสนาและตำนานกรีกโบราณ ดิมีเทอร์ (อังกฤษ Demeter, /dɨˈmiːtɚ/ Gay) เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ผู้ดูแลธัญพืชและความอุดมสมบูรณ์ของปฐพี ชื่อลัทธิบูชาของพระนางรวมถึงซิโต (Σιτώ) สตรีแห่งธัญพืช ในฐานะผู้ประทานอาหารหรือธัญพืช และเธสมอฟอรอส (θεσμός thesmos ระเบียบสวรรค์, กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร phoros ผู้ให้, ผู้ถือ) ผู้ประทานกฎหมาย โดยเป็นเครื่องหมายการดำรงอยู่ของสังคมเกษตรกรรมอารยะ[ยนทางแอรีส (อังกฤษ Ares /ˈɛəriz/ กรีกโบราณ Ἄρης [árɛːs] อาแรส) ทรงเป็นเทพแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งในสิบสองพระเจ้าโอลิมปัส และพระโอรสของซูสและฮีรา…

Continue Reading

ไดแอนา (เทพปกรณัม)

Posted on December 2, 2021 by yourmengifts

เทพีไดแอนา (อังกฤษ Diana) หรือ ดีอานา (ละตินเก่า Dīāna) ตามศาสนาโรมันและกรีกโบราณเป็นเทพกัญญาโรมัน โดยมากนับว่าเป็นอุปถัมภกของชนบท พราน ทางแพร่ง และดวงเดือน ถือว่าเป็นเหมือนอาร์ทิมิสและเฮคาทีในเทพปกรณัมกรีก โดยในช่วงประวัติศาสตร์โรมันตอนต้น ตำนานของไดแอนาได้รับอิทธิพลเป็นอย่างมากจากตำนานของอาร์ทิมิส เช่นเรื่องการกำเนิดบนเกาะดีลอส โดยมีจูปิเตอร์และลาโทนาเป็นบิดามารดา และมีอะพอลโลเป็นพี่น้องฝาแฝด แม้ว่าเดิมทีไดแอนามีจุดกำเนิดในอิตาลี ไม่ใช่กรีซ ปัจจุบันก็เป็นที่นับถือของศาสนาของขบวนการโรมันใหม่ (Nova Roma) และกลุ่มเวทมนตร์สเตรเกเรีย (Stregheria) นอกจากสัญลักษณ์ประจำตัว ป่าโอ้คก็มีความศักดิ์สิทธิ์ต่อไดแอนา และนางก็ยังเป็นสัญลักษณ์ของพรหมจารี (chastity) โดยเป็นเทพกัญญาพรหมจารีและผู้พิทักษ์การคลอดลูก ในอดีตประกอบด้วยไตรเทพ โดยมีเทพเจ้าโรมันอีกสององค์คือ พรายน้ำเอเกเรีย ซึ่งเป็นคนรับใช้และรองนางผดุงครรภ์ของนาง อีกองค์หนึ่งคือ เทพเจ้าแห่งป่าไม้วีรบิอุสเกาะดีลอส (อังกฤษ Delos /ˈdiːlɒs/ กรีก Δήλος [ˈðilos] Attic Δῆλος, Doric Δᾶλος) เป็นเกาะที่อยู่ใกล้กับเกาะมีโคนอส บริเวณตอนกลางของหมู่เกาะซิคละดีส เกาะถือเป็นสถานที่สำคัญด้านตำนาน ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ของประเทศกรีซ การค้นพบทางโบราณคดีบนเกาะถือเป็นการค้นพบครั้งใหญที่สุดแห่งหนึ่งในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยังมีการดำเนินงานอยู่ภายใต้การทำงานของโรงเรียนฝรั่งเศสแห่งเอเธนส์ (French…

Continue Reading

แซตเทิร์น

Posted on December 2, 2021 by yourmengifts

แซตเทิร์น (อังกฤษ Saturn, ละติน Saturnus) เป็นเทพในตำนานเทพปกรณัมโรมันที่เทียบเท่ากับเทพโครนัสในตำนานเทพปกรณัมกรีก เทพแซตเทิร์นเป็นเทพแห่งการเกษตรกรรมและการเก็บเกี่ยวและพลัง มือซ้ายถือเคียวและมือขวาถือฟ่อนข้าวสาลี แซตเทิร์นเป็นลูกของเฮเลนหรือเฮล ตำนานของแซตเทิร์นและโครนัสบางครั้งก็มักจะผสมเผสกันแซตเทิร์น (อังกฤษ Saturn, ละติน Saturnus) เป็นเทพในตำนานเทพปกรณัมโรมันที่เทียบเท่ากับเทพโครนัสในตำนานเทพปกรณัมกรีก เทพแซตเทิร์นเป็นเทพแห่งการเกษตรกรรมและการเก็บเกี่ยวและพลัง มือซ้ายถือเคียวและมือขวาถือฟ่อนข้าวสาลี แซตเทิร์นเป็นลูกของเฮเลนหรือเฮล ตำนานของแซตเทิร์นและโครนัสบางครั้งก็มักจะผสมเผสกันอารยธรรมอิทรัสคัน (อังกฤษ Etruscan civilization) เป็นคำใหม่ที่ใช้เรียกอารยธรรมและวิธีการใช้ชีวิตของชนในอิตาลีโบราณและคอร์ซิกาที่ชาวโรมันเรียกว่า “อีทรัสคิ” (Etrusci) หรือ “ทัสคิ” (Tusci) ภาษากรีกแอตติคสำหรับชนกลุ่มนี้คือ “Τυρρήνιοι” (Tyrrhēnioi) ที่แผลงมาเป็นภาษาลาติน “Tyrrhēni” (อิทรัสคัน), “Tyrrhēnia” (อีทรูเรีย (Etruria)) และ “Mare Tyrrhēnum” (ทะเลไทเรเนียน (Tyrrhenian Sea)) ชาวอิทรัสคันเองเรียกตนเองว่า “Rasenna” (ราเซนา) ที่แผลงมาเป็น “Rasna” หรือ “Raśna” (ราซนา) ชาวอิทรัสคันมีภาษาและวัฒนธรรมที่เป็นของตนเองแต่ไม่ทราบที่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ก่อนการก่อตั้งกรุงโรมมาจนกระทั่งกลืนไปกับชาวโรมันโบราณในสาธารณรัฐโรมัน ในจุดที่รุ่งเรืองสูงสุดระหว่าสมัยการก่อตั้งกรุงโรมและราชอาณาจักรโรมันอิทรัสคันประกอบด้วยสามรัฐในสมาพันธรัฐ ในอีทรูเรีย, ในบริเวณลุ่มแม่น้ำโป…

Continue Reading

จูโน

Posted on November 30, 2021 by yourmengifts

เทพีจูโน (อังกฤษ Juno) เป็นเทพีในตำนานเทพปกรณัมโรมันที่เทียบเท่ากับเทพีเฮราในตำนานเทพปกรณัมกรีก เทพีจูโนเป็นเทพีผู้พิทักษ์ที่ปรึกษาของรัฐ เป็นธิดาของเทพแซทเทิร์น และเป็นน้องสาว (และภรรยา) ของเทพจูปิเตอร์และแม่ของเทพจูเวนตัส (Juventus), เทพมาร์ส และเทพวัลคัน เทพีจูโนเป็นเทพีผู้พิทักษ์กรุงโรมและจักรวรรดิโรมันที่บางครั้งก็เรียกว่าเรจินา (พระราชินี) เทพีจูโน เทพจูปิเตอร์ และ เทพีมิเนอร์วาเป็นสามเทพที่สักการะบนจูโนคาพิโตลินา (Juno Capitolina) ในกรุงโรมจูปิเตอร์ หรือโจฟ ทรงเป็นราชาแห่งพระเจ้าและเทพเจ้าแห่งท้องฟ้าและฟ้าผ่าในเรื่องปรัมปรา จูปิเตอร์ทรงเป็นพระเจ้าหลักของศาสนารัฐโรมันตลอดสมัยสาธารณรัฐและจักรวรรดิ จนศาสนาคริสต์กลายเป็นศาสนาครอบงำในจักรวรรดิ ในเทพปกรณัมโรมัน พระองค์ทรงเจรจากับนูมา ปอมปีลีอัส พระมหากษัตริย์โรมพระองค์ที่สอง เพื่อสถาปนาหลักการของศาสนาโรมันอย่างการบูชายัญ ปกติคาดว่าจูปิเตอร์กำเนิดขึ้นเป็นเทพเจ้าท้องฟ้า สิ่งที่บอก คือ ฟ้าผ่า และสัตว์ศักดิ์สิทธิ์หลักของพระองค์ คือ นกอินทรี ซึ่งถือว่าดีกว่านกอื่นในการยึดลาง (augury) และกลายเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยที่สุดอันหนึ่งของกองทัพโรมัน สองสัญลักษณ์นี้มักรวมกันเพื่อแสดงจูปิเตอร์ในรูปอินทรีกำฟ้าผ่าในกรงเล็บ ซึ่งเห็นได้บ่อยในเหรียญกรีกและโรมัน ในฐานะเทพเจ้าท้องฟ้า พระองค์ทรงเป็นพยานศักดิ์สิทธิ์ของคำสาบาน ความไว้วางใจศักดิ์สิทธิ์ซึ่งความยุติธรรมและธรรมาภิบาลยึดถือ หลายหน้าที่ของพระองค์ได้รับความสนใจบนเนินแคพิทะไลน์ (เนินรัฐสภา) อันเป็นที่ตั้งของป้อม พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าหลักในสามแคพิทะไลน์ (Capitoline Triad) ช่วงต้นร่วมกับมาร์สและควิไรนัส ในสามแคพิทะไลน์ช่วงหลัง พระองค์ทรงเป็นผู้พิทักษ์กลางของรัฐร่วมกับจูโนและมิเนอร์วา ไม้ต้นศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์…

Continue Reading

แอรีส

Posted on November 30, 2021 by yourmengifts

แอรีส (อังกฤษ Ares /ˈɛəriz/ กรีกโบราณ Ἄρης [árɛːs] อาแรส) ทรงเป็นเทพแห่งสงครามของกรีก ทรงเป็นหนึ่งในสิบสองพระเจ้าโอลิมปัส และพระโอรสของซูสและฮีรา ในวรรณกรรมกรีก เป็นสัญลักษณ์ของแง่มุมกายภาพหรือความรุนแรงและไม่สงบของสงคราม ขัดกับอะธีนา ผู้เป็นเทพเจ้าแห่งปัญญา รวมทั้งยุทธศาสตร์การทหารและตำแหน่งอำนาจแม่ทัพ ชาวกรีกมีความรู้สึกไม่ชัดเจนต่อแอรีส เนื่องจากเทพแอรีสเป็นสัญลักษณะของความพ่ายแพ้เช่นเดียวกับความสามารถในสงครามแม้พระองค์จะทรงมีความกล้าทางกายซึ่งจำเป็นต่อความสำเร็จในสงคราม แต่เป็นพลังที่อันตราย ท่วมท้น ละโมบในการยุทธ์ ทำลายล้างและฆ่าคน ความกลัว (โฟบอส) และความสยองขวัญ (ไดมอส) พระโอรส และความแตกสามัคคี (เอนีโอ) คนรักและพระกนิษฐภคินี เดินทางไปกับพระองค์ด้วยบนรถม้าศึกในอีเลียด ซูสพระบิดาตรัสแก่แอรีสว่า พระองค์ทรงเป็นเทพที่ซูสเกลียดที่สุด สถานที่หรือวัตถุที่สัมพันธ์กับแอรีสทำให้สถานที่หรือวัตถุนั้นมีคุณภาพโหดร้าย อันตรายหรือเป็นทหาร คุณค่าของพระองค์ในฐานะเทพแห่งสงครามกลายเป็นที่กังขา เพราะในสงครามกรุงทรอย แอรีสทรงอยู่ข้างที่ปราชัย ขณะที่อะธีนา ซึ่งมักพรรณนาในศิลปะกรีกโดยถือชัยชนะ (ไนกี) อยู่ในพระหัตถ์ อยู่ฝ่ายกรีกผู้ชนะในศาสนาและเทพปกรณัมกรีก อะธีนา (อังกฤษ Athena, เสียงอ่านภาษาอังกฤษ /əˈθinə/) หรือ อะธีนี (อังกฤษ Athene) หรือ แพลลัสอธีนา/อะธีนี (อังกฤษ…

Continue Reading

พระชคันนาถ

Posted on November 29, 2021 by yourmengifts

ชกันนาถ หรือ จกันนาถ (โอริยา ଜଗନ୍ନାଥ, ไอเอเอสที Jagannātha แปลตรงตัวว่า “จ้าวแห่งจักรวาล”) ทรงเป็นเทพเจ้าท้องถิ่นในศาสนาฮินดู และ ศาสนาพุทธ ในอินเดีย และ บังคลาเทศ พระจกันนาถเชื่อกันว่าเป็นอวตารหนี่งของพระวิษณุ พระองค์เป็นหนึ่งในสามเทพร่วมกับพระพลรามและพระนางสุภัทรา ผู้นับถือลัทธิไวษณพส่วนใหญ่เชื่อว่าพระจกันนาถเป็นรูปนามธรรมของพระกฤษณะ ส่วนในบางส่วนของลัทธิไศวะและลัทธิศักติเชื่อว่าเป็นรูปแบบตันตระสมมาตรของพระไภรวะ แม้แต่ในพุทธบางกลุ่มก็เชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้าในรูปหนึ่ง และในไชนะบางกลุ่มก็เชื่อว่าพระนามนี้มาจาก “จีนะนาถ” เทวรูปของพระชคันนาถสร้างขึ้นจากตอไม้สลักและตกแต่งให้มีพระเนตรวงกลมขนาดโต รูปเคารพของพระชคันนาถไม่แสดงแขนขาให้เห็นอย่างชัดแจ้ง พิธีกรรมบูชาต่าง ๆ มีการผสมผสานกันระหว่างความเชื่อต่าง ๆ สูงมาก (syncretic) แม้แต่มีพิธีกรรมที่ไม่พบในศาสนาฮินดูโดยทั่วไป โดยทั่วไปแล้ว รูปเคารพของพระชคันนาถจะถูกสร้างขึ้นใหม่ด้วยไม้ทุก ๆ ระยะเวลาหนึ่งที่กำหนดไว้ ต้นกำเนิดของการบูชาพระชคันนาถนั้นยังเป็นที่ถกเถียงและไม่ชัดเจน นักวิชาการบางส่วนตีความบทภาวนาที่ 10.155.3 ใน ฤคเวท ว่าอาจจะเป็นจุดกำเนิดดั้งเดิมของพระชคันนาถ ในขณะที่บางส่วนแย้งว่าพระชคันนาถมีรากฐานมาจากการผสมผสานเข้ากับเทวดาท้องถิ่นที่มีพื้นฐานมาจากความเชื่อของชนเผ่า ไม่พบพระนามของพระชคันนาถเป็นหนึ่งในสิบทศาวตาร (อวตารทั้งสิบปาง) ของพระวิษณุในฉบับดั้งเดิม แต่ในวรรณกรรมโอริยาพบพระชคันนาถปรากฏในฐานะอวตารปางที่เก้าแทนที่พระโคตมพุทธเจ้าในทศาวตารฉบับดั้งเดิม เครดิตฟรี พระชคันนาถได้รับการนับถือในฐานะเทพเจ้าที่ไม่เฉพาะต่อลัทธิหนึ่ง ๆ (non-sectarian deity) และพบบูชาเป็นเทพเจ้าองค์สำคัญเป็นพิเศษในรัฐโอริศา, ฉัตตีสครห์, เบงกอลตะวันตก, ฌารขัณฑ์,…

Continue Reading

พระกฤษณะ

Posted on November 29, 2021 by yourmengifts

พระกฤษณะ (สันสกฤต कृष्ण) หรือเอกสารไทยเรียก พระบรมจักรกฤษณ์ เป็นเทวดาในศาสนาฮินดู เป็นอวตารองค์หนึ่งของพระวิษณุ และเป็นตัวดำเนินเรื่องสำคัญในมหากาพย์เรื่อง มหาภารตะ มหากาพย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศอินเดียและยังทรงเป็นต้นกำเนิดของคัมภีร์ภควัทคีตาหนึ่งในคัมภีร์สำคัญของคัมภีร์พระเวทและยังทรงเป็นพระเจ้าสูงสุดในคัมภีร์พรหมไววรรตปุราณะอีกด้วยคำว่า กฤษณะ เป็นภาษาสันสกฤตมีความหมายว่า ดำ คล้ำ มืด หรือน้ำเงินเข้ม ผู้เป็นเจ้าของความมั่งคั่งและชื่อเสียงทั้งหมดซึ่งใช้พรรณนาบุคคลที่มีสีผิวคล้ำ พระกฤษณะทรงได้รับคำพรรณนาบ่อย ๆ ว่าผิวดำ แต่ในรูปภาพนั้นพระองค์ได้รับการวาดด้วยสีผิวสีน้ำเงินเข้ม มีสัตว์เลี้ยง คือ โคสีขาว พระประวัติ พระกฤษณะเป็นหลานตาของกษัตริย์ ณ มถุรานคร พระกษัตริย์พระนามว่า ท้าวอุครเสน พระกษัตริย์มีบุตร 2 คน คือ ท้าวกังสะและนางเทวกี นางเทวกีได้สมรสกับพระวสุเทพ ต่อมากังสะกบฏต่อพระบิดา ได้จับท้าวอุครเสนและพี่สาวพี่เขยขังไว้ ฤๅษีนารทมุนีทำนายว่า พระวิษณุจะอวตารมาเกิดเป็นบุตรคนที่แปดของนางเทวกีเพื่อสังหารท้าวกังสะ ท้าวกังสะจึงฆ่าลูกทุกคนของนางเทวกี หลังจากฆ่าหกคนแรกแล้ว คนที่เจ็ดคือพระพลราม เป็นร่างอวตารของพญาอนันตนาคราช พระแม่โยคมายาได้สลับเข้าครรภ์ของนางโรหิณี พระกฤษณะเป็นคนที่แปด พระวสุเทพสามารถลักลอบเอาพระกฤษณะไปฝากให้โคบาลชื่อนันทะและนางยโศธาเลี้ยงในหมู่บ้านโคกุลนอกนครมถุรา ต่อมาเมื่อเติบโตขึ้นก็ได้สังหารท้าวกังสะและเหล่าอสูรบริวาร ปลดปล่อยท้าวอุครเสน พระวสุเทพ และนางเทวกี ท้าวอุครเสนทรงได้ให้การศึกษาในสำนักฤๅษีสานทีปนี และได้แต่งตั้งพระกฤษณะขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งเมืองมถุรา ต่อมาท้าวชราสันธ์ ผู้เป็นพ่อตาของท้าวกังสะ…

Continue Reading

ทวารกา

Posted on November 27, 2021 by yourmengifts

ทวารกา (เทวนาครี द्वारका) ตั้งอยู่ทางตะวันตกของชมพูทวีป ประมาณ 500 ปัก่อนคริสตกาล ก่อตั้งโดยพระกฤษณะ ซึ่งอพยพมาจากมถุรา เมือง ทวารกาตั้งอยู่ริมฝั่งชายทะเลอาหรับ แถบแคว้นคุชราต ต่อมาหลัง สงครามทุ่งกุรุเกษตร คานธารี มารดาของทุรโยธน์ เชื่อว่า พระกฤษณะ เป็นต้นเหตุทำให้ทุรโยธน์กับลูกของนางอีก 99 คนต้องตายและไม่มีใครสืบสกุลเการพ นางจึงสาปพระกฤษณะว่า นับตั้งแต่ต้นไปอีก 36 ปี ข้าขอสาปให้พระกฤษณะและสกุลยาทพต้องมาพบจุบจบเหมือนบุตรชายข้า และญาติ ของท่านต้องมาฆ่ากันตายเองและเมืองทวารกาของท่านต้องจมสมุทรไปเป็นเวลาหลายพันปี และ 36 ปีต่อมา เมืองทวารกาได้จมสมุทร ไปและ เมื่อ 50 ปีก่อน นักสำรวจชาวอินเดียคนหนึ่งได้สำรวจ ทะเลอาหรับดูก็พบว่าเมืองทวารกามีอยู่จริง แต่ปัจจุบันนี้ เมืองทวารกา ได้ถูกสร้างขึ้นมาใหม่ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 แห่งราชวงศ์คุปตะจักรวรรดิคุปตะ (อังกฤษ Gupta Empire) เป็นจักรวรรดิอินเดียโบราณที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 280 จนกระทั่งปี ค.ศ. 550 จักรวรรดิ โดยมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมตางตอนเหนือและตอนกลางของอินเดียทั้งหมด และบังคลาเทศปัจจุบัน…

Continue Reading

กฤษณชนมาษฏมี

Posted on November 27, 2021 by yourmengifts

กฤษณชนมาษฏมี (Krishna Janmashtami) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ชนมาษฏมี (Janmashtami) หรือ โคลูกาษฏมี (Gokulashtami) เป็นเทศกาลประจำปีในศาสนาฮินดูที่เฉลิมฉลองประสูติกาลของพระกฤษณะ อวตารปางที่แปดของพระวิษณุ วันที่ของกฤษณชนมาษฏมีตรงกับในปฏิทินฮินดู ในวันที่แปด (อัษฏมี) ของกฤษณปักษ์ (ปักษ์มืด) ในศราวน หรือภัทรปัท (ขึ้นอยู่กับปฏิทิน) ซึ่งตรงกับช่วงระหว่างเดือนสิงหาคมและกันยายนตามปฏิทินเกรกอเรียน กฤษณชนมาษฏมีถือเป็นเทศกาลสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในลัทธิไวษณพของศาสนาฮินดู ระหว่างเทศกาลมีการแสดงร่ายรำประกอบดนตรีแสดงถึงพระชนมชีพของพระกฤษณะตามที่ระบุไว้ใน ภควัตปุราณะ (เช่น รสลีลา หรือ กฤษณลีลา), การขับร้องบทสรรเสริญในช่วงเที่ยงคืน ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นกาลประสูติของพระศิวะ, อดอาหาร (อุปวส upavasa), การเฝ้ายามยามค่ำคืน (ราตรี ชครัน Jagaran), และเทศกาล (มโหตสว Mahotsav) ในวันถัดไป ชนมาษฏมีเป็นที่ฉลองกันมากเป็นพิเศษในมถุรา และ วรินทรวัน รวมถึงบุมชนในมณีปุระ, อัสสัม, พิหาร, เบงกอลตะวันตก, โอริสา, มัธยประเทศ, ราชสถาน, คุชราต, มหาราษฏระ, กรณาฏกะ,…

Continue Reading
  • Previous
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • …
  • 23
  • Next
March 2023
M T W T F S S
 12345
6789101112
13141516171819
20212223242526
2728293031  
« Dec    

Recent Posts

  • ฮัวโต๋
  • หวงตี้
  • พระอัศวิน
  • พระธันวันตริ
  • ซีหวังหมู่

Categories

  • เทพเจ้า

Tags

greek mythology mythology กวนอู คณะเซียน8 องค์ ครอบครัวตระกูลลิ้ม ความมั่งคั่ง จาง เฟย จินกุย ชนชาวจีน ชำระมลทิน ตำนานเทพเจ้า ต้นตระกูล ต้า เฟิง จยู่ซือ ท่านผู้หญิง นาจา ปรมจารย์แห่งเต๋า ประมุขฟ้า ผานกู่ พระสังกัจจายน์ พระอรหันต์ พระอวโลกิเตศวร พระเจ้าเล่าปี่ พระโพธิสัตว์ ราชวงศ์อิน ลัทธิเต๋า ลี้ทิไกว้โจวซือ สามก๊ก หมีเล่อฝอ หลิว เป้ย อายุยืน เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว เซียนองค์ที่หนึ่งของโป๊ยเซียน เตียวเอ็กเต้ เต่าทองคำ เทพผู้พิทักษ์ประตูสวรรค์ เทพมารดร เทพเจ้า เทพเจ้าต่างๆ เทพเจ้าแห่งโชคลาภ เทพเจ้าแห่งโอลิมปัส แม่ย่านางจีน โชคลาภ โป๊ยเซียน ไต่ฮงโจวซือ ไท้ซังเหล่าจวิน
©2023 yourgroomsmengifts.com | Theme: Wordly by SuperbThemes