พระจุนทีโพธิสัตว์ เป็นพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งในพระพุทธศาสนามหายานเช่นเดียวกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แต่มีคนรู้จักน้อยกว่า เชื่อกันว่าพระองค์เป็นพระพุทธมารดาภาคสัมโภคกาย (กายทิพย์) ของพระเจ้าห้าพระองค์ในภัทรกัปปัจจุบันของเรา โดยหลายท่านเมื่อเห็นพุทธศิลป์ของพระองค์ก็มักจะเข้าใจกันผิดว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ นั่นก็เพราะเกิดจากความเชื่อในพระพุทธศาสนาของนิกายฉาน ที่กล่าวว่าพระจุนทีนั้นเป็นภาคหนึ่งของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แล้วนำไปจัดรวมไว้ในรูปเคารพของพระโพธิสัตว์กวนอิม 6 ปางใหญ่ ซึงในขณะที่นิกายอื่น ๆ ของทางมหายานเนั้นจะถือว่าพระจุนทีกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ นั้นเป็นคนละองค์กัน หลายที่ก็ยังไปจำสับสนด้วยรูปลักษณะของ เต้าอึ้งง้วงกุง หรือ เต้าบ้อง้วงกุง ซึ่งเป็นมารดาของเทวดานพเคราะห์ทางลัทธิเต๋า ที่รับมาจากพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งก็คือพระมรีจิโพธิสัตว์นั่นเอง บ้างก็ไปจำสับสนกับพระมยุรกีรติประภาราชาโพธิสัตว์ที่ทรงนกยูงเป็นพาหนะ โดยพระโพธิสัตว์พระองค์นี้จะมีกล่าวถึง แต่ไม่ค่อยมีบทบาทเท่าไรในพระพุทธศาสนาของจีน แต่จะมีบทบาทในญี่ปุ่นมากกว่า เครดิตฟรี ๑ พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงสละความสุขแห่งความเป็นแม่หมดสิ้นพระโพธิสัตว์ทรงยอมรับกรรมในการเป็นพระพุทธมารดา ด้วยว่าพระพุทธเจ้านั้นทรงมีบุญบารมีมากมายนัก เมื่อทรงจุติ ก็มักจุติในตระกูลสูง เมื่อได้ประสูตรพระราชโอรส พระโพธิสัตว์จุนทิ จึงถึงแก่กรรม ด้วยหมดวาระบุญ ไม่อาจได้มีโอกาสเลี้ยงบุตรของตนเหมือนดั่งมารดาผู้อื่น ดังเช่น พระนางสิริมหามายา ทรงสิ้นพระชนม์หลังพระสูติเจ้าชายสิทถะไม่นานนัก ด้วยเพราะพระโพธิสัตว์สิ้นบุญที่จะได้เบี้ยงดูพระพุทธองค์ และทรงสิ้นพระชนเพราะประสูติพระพุทธเจ้ามาแล้วรวมทั้งสิ้นถึงสี่พระองค์ แต่ก็ทรงไม่ย่อท้อที่จะทรงตั้งครรภ์อันบริสุทธิ์นี้แด่พระพุทธเจ้าทั้งห้าพระองค์ สล็อต ๒ พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงสละความสุขจากผลบุญเพื่อได้เลี้ยงดูบุตรพระโพธิสัตว์ทรงมีโอกาสได้เลี้ยงดูบุตรในชาติสุดท้ายก่อนเข้านิพพาน หลังจากพระพุทธเจ้าสมณโคดมทรงโปรดพระโพธิสัตว์จนบรรลุโสดาบัน จึงได้ตั้งจิตเพื่อเกิดอีกเป็นชาติสุดท้าย ด้วยการสานกิจพระศาสนาร่วมกับพระศรีอาริยเมตไตรย์ ในสมัยกึ่งพุทธกาล พระโพธิสัตว์ จึงใช้ผลบุญทั้งหมดเพื่อให้เกิดมาได้มีชีวิตอยู่ต่อเลี้ยงบุตรของตน ทั้งสองพระองค์จุติเป็นคนยากจนเพื่อให้ได้ใช้ผลบุญยังชีพเลี้ยงบุตรนั้น แต่ความยากจนก็ทำให้พระโพธิสัตว์ไม่ได้เลี้ยงบุตรของตนในยามเล็ก…
Continue ReadingTag: พระโพธิสัตว์

พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์
พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ เป็นพระโพธิสัตว์อัครสาวกของพระอมิตาภพุทธะเช่นเดียวกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ แต่มีคนรู้จักน้อยกว่า ถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ด้านกำลัง สะท้อนพลังจิตที่เข้มแข็งของพระพุทธเจ้า ใกล้เคียงกับความหมายของพระสมันตภัทรโพธิสัตว์ เครดิตฟรี ลักษณะรูปลักษณ์ของท่านอยู่ในท่ายืน จะทรงถือดอกปัทมาในพระหัตถ์บางครั้งจะทรงประณมหัตถ์ไว้ที่พระอุระ บางครั้งจะทรงถึงวัชระ บางตำราบอกว่ามือซ้ายอยู่ในท่าประทาน มือขวาอยู่ในท่าคิด บางครั้งมือทั้งสองจะประสานกันในท่าไขว้ สล็อต ความเชื่อนิกายสุขาวดีกำหนดให้ท่านเป็นผู้คุ้มครองดวงจิตของผู้ที่จะไปอุบัติในแดนสุขาวดี ในอีกแนวหนึ่งเชื่อว่าพระมหาสถามปราปต์พัฒนามาจากพระอินทร์ของศาสนาพราหมณ์ เนื่องจากลักษณะในยุคแรกของท่านถือวัชระเช่นเดียวกับพระอินทร์ ต่อมามีการสร้างพระโพธิสัตว์องค์ใหม่ เรียกว่าพระวัชรปาณีโพธิสัตว์ แยกออกมาจากพระมหาสถามปราปต์ ความนิยมนับถือพระมหาสถามปราปต์จึงลดลง ความหมายต่าง ๆ ของท่านได้หลอมรวมกลายเป็นส่วนหนึ่งของพระโพธิสัตว์องค์อื่นๆไป สล็อตออนไลน์ พระมหาสถามะ และ พระอวโลกิเตศวร คือ พระโพธิสัตว์คู่บารมีของพระอมิตาภพุทธเจ้า แม้ว่าพระมหาสถามะจะไม่ค่อยได้รับความนิยมจากพุทธศาสนิกชนในประเทศอินเดียนัก แต่ความศรัทธาในองค์พระมหาสถามะกำลังเพิ่มมากยิ่งขึ้นใน ประเทศจีน และ ประเทศญี่ปุ่น ไปพร้อมๆกับการเผยแพร่คำสอนเรื่องพระอมิตาภพุทเจ้า และ แดนสุขาวดี อย่างไรก็ตามพระอวโลกิเตศวรมักจะได้รับความนิยมมากกว่าพระมหาสถามะ เพราะเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตา ในขณะที่พระมหาสถามะเป็นพระโพธิสัตว์แห่งปัญญา jumboslot จิตรกรรมและปฏิมากรรมขององค์พระมหาสถามะในญี่ปุ่น มักจะเป็นปางพนมมือสวดมนต์ หรือ ปางถือดอกบัว ในบางครั้งพระมหาสถามะจะทรงมงกุฎประดับด้วยแจกัน รูปแบบของจิตรกรรมและปฏิมากรรมส่วนมากจะเป็น Amida Raigo Triad คือประกอบด้วย พระอมิตาภพุทธเจ้าอยู่ตรงกลาง พระมหาสถามะอยู่เบื้องขวา (ของพระอมิตาภพุทธเจ้า)…
Continue Reading
พระโพธิสัตว์กวนอิม
พระอวโลกิเตศวร พระโพธิสัตว์องค์สำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็นเสมือนปุคคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้งปวงเรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปฺรชฺญาปารมิตาสูตฺร , สทฺธรฺมปุณฑรีกสูตฺร และการณฺฑวยูหสูตฺร เครดิตฟรี ความหมายของพระนามคำว่า อวโลกิเตศวร ได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายนัยด้วยกัน แต่โดยรูปศัพท์แล้ว คำว่าอวโลกิเตศวรมาจากคำสันสกฤตสองคำคือ อวโลกิต กับ อิศวร แปลได้ว่าผู้เป็นใหญ่ที่เฝ้ามองจากเบื้องบน หรือพระผู้ทัศนาดูโลก ซึ่งหมายถึงเฝ้าดูแลสรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์นั่นเองซิมเมอร์ นักวิชาการชาวเยอรมันอธิบายว่า พระโพธิสัตว์องค์นี้ทรงเป็นสมันตมุข คือ ปรากฏพระพักตร์อยู่ทุกทิศ อาจแลเห็นทั้งหมด ทรงเป็นผู้ที่สามารถบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ คืออาจจะเป็นพระพุทธเจ้าเมื่อใดก็ได้ แต่ทรงยับยั้งไว้เนื่องจากความกรุณาสงสารต่อสรรพสัตว์นอกจากนี้นักปราชญ์พุทธศาสนาบางท่าน ยังได้เสนอความเห็นว่า คำว่า อิศวร นั้น เป็นเสมือนตำแหน่งที่ติดมากับพระนามอวโลกิตะ จึงถือได้ว่าทรงเป็นพระโพธิสัตว์พระองค์เดียวที่มีตำแหน่งระบุไว้ท้ายพระนาม ในขณะที่พระโพธิสัตว์พระองค์อื่น หามีไม่ อันแสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่และความสำคัญยิ่งของพระโพธิสัตว์พระองค์นี้พุทธศาสนิกชนชาวจีนจะรู้จักพระโพธิสัตว์พระองค์นี้ในพระนามว่า กวน ซี อิม หรือ กวนอิม ซึ่งก็มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่าอวโลกิเตศวรในภาษาสันสกฤต คือผู้เพ่งสดับเสียงแห่งโลก แต่โดยทั่วไปแล้วมักให้อรรถาธิบายเป็นใจความว่า หมายถึง พระผู้สดับฟังเสียงคร่ำครวญของสัตว์โลก (ที่กำลังตกอยู่ในห้วงทุกข์) คำว่ากวนซีอิมนี้พระกุมารชีวะชาวเอเชียกลางผู้ไปเผยแผ่พระศาสนาในจีน เป็นผู้แปลขึ้น ต่อมาตัดออกเหลือเพียงกวนอิมเท่านั้น เนื่องจากคำว่าซีไปพ้องกับพระนามของ จักรพรรดิถังไท่จง หรือ…
Continue Reading